30.7.50

Clarinette







La clarinette est un instrument de musique de la famille des bois à anche simple. Elle a été créée vers 1700 par Johann Christophe Denner (1655-1707) à Nuremberg sur la base d'un instrument à anche simple plus ancien : le « chalumeau ». La clarinette en Si♭ (bémol) en est le modèle le plus commun.

La clarinette est à perce cylindrique, ce qui la distingue du hautbois et du saxophone, tous deux à perce conique, et lui confère une aptitude au quintoiement[1]. Son timbre chaud dans le registre grave, peut s'avérer extrêmement brillant voire agressif dans l'aigu.

De tous les instruments à vent, elle est celui qui possède la plus grande étendue (ou tessiture) avec 3 octaves plus une sixte mineure soit 45 notes en tout[2]. Elle se décline en une famille d'instruments presque tous transpositeurs, depuis la clarinette contrebasse, jusqu'à la clarinette sopranino, couvrant ainsi toute l'étendue d'un orchestre symphonique. À l'exception des percussions, la clarinette est l'instrument qui possède la plus grande famille.



Évolution de la clarinette
Du chalumeau à la clarinette

Le chalumeau européen du Moyen Âge fut sans doute l'ancêtre[3] le plus direct de la clarinette. Aujourd'hui encore, le registre grave de la clarinette est appelé registre du chalumeau. C'est à Johann Christoph Denner (1655-1707) que l'on doit l'invention de la clarinette lorsque vers 1690,[4] il ajouta au chalumeau français le pavillon et deux clefs d'importance majeure.

L'ajout de la « clé de 12e» [5] permit de tirer parti de l'aptitude de l'instrument au quintoiement, que les musiciens les plus doués pouvaient provoquer par une modification de la position de l'embouchure. Le registre atteint est alors celui dit du clairon et sa sonorité se rapproche de la clarine, petite trompette du XVIIIe siècle, qui donna son nom à la clarinette.

À cette époque, l'instrument était manipulé via huit trous bouchés par les doigts. Le passage au registre supérieur ne se faisait qu'avec un défaut de 2 notes sur la gamme : le La et le Si étaient absents de la gamme. La deuxième clef, celle « du La », étend vers le haut le registre du chalumeau.

Le Si est obtenu par quintoiement d'une note plus grave (le Mi) grâce au pavillon prolongeant la clarinette. La gamme (diatonique) est alors complète et le changement de registre se passe sans discontinuité.

Dans l'état, l'instrument ne disposant pas d'une gamme chromatique complète, il restait prisonnier de quelques tonalités particulières. Pour y remédier, les musiciens disposaient de différents modèles de clarinettes, réalisés chacun pour une tonalité spécifique.



La clarinette moderne
En 1810, Heinrich Bärmann (1784-1847) proposa le retournement du bec[7], positionnant ainsi l'anche sur la lèvre inférieure du musicien. Ceci adoucit et garantit la sonorité. Iwan (ou Ywan) Muller[8][9] y apporta en 1812 treize clés supplémentaires offrant enfin la gamme chromatique complète. Ces nouveautés permirent d'abandonner peu à peu la collection d'instruments dédiés aux tonalités distinctes dont disposaient les musiciens pour interpréter les différentes pièces.

La clarinette fut amenée à son degré de perfectionnement actuel par le facteur d'instruments français Louis Auguste Buffet en collaboration avec le clarinettiste Hyacinthe Klosé.[10][11] Tous deux adoptèrent le principe des anneaux mobiles que l'Allemand Theobald Boehm avait imaginé pour la flûte : le système Boehm. Aujourd'hui, le système Boehm est utilisé par les clarinettistes du monde entier, aux exceptions des Allemands et des Autrichiens, qui se servent pour la plupart du système concurrent : le système Oehler[12].

Une clarinette utilisant le système Boehm, peut disposer jusqu'à 22 éléments utilement mobiles, auxquels il faut rajouter les paliers, les axes, les vis et les ressorts. L'ensemble dépasse la centaine de pièces mécaniques, et participe à la manipulation de 17 tampons obturant autant d'orifices inaccessibles avec les doigts.

Le nombre de clefs annoncé par les facteurs correspond au nombre de points de commande intentionnelles (les anneaux n'en font donc pas partie puisqu'ils sont actionnés en même temps qu'un trou est bouché). La clarinette Boehm comporte donc 17 clefs, parfois 18 avec la clef de rappel de Mi♭ main gauche. Il existe deux variantes du système Oehler comportant respectivement 19 et 27 clefs.




Anatomie de la clarinette
Clarinettes droites
La clarinette en Si♭ (mais aussi celles en La, en Ut, en Ré et Mi♭) se présente sous la forme d'un long tuyau droit. La clarinette est généralement réalisée en bois noble tel que l'ébène ou le palissandre (au moins pour le corps). Certains modèles, dits d'études, sont parfois moulés en plastique. Dans les années 1930 le jazz a utilisé des modèles en métal[17].

Aujourd'hui, des clarinettes en matériau composite ont fait leur apparition. Ces clarinettes allient les avantages du bois et ceux du plastique, sans leurs inconvénients[18][19]. Ainsi ces clarinettes conservent la sonorité du bois, gagnent en légèreté, et sont moins onéreuses du fait de la disponibilité des matières premières et des coûts de production du plastique.

Les clés sont en maillechort (alliage à base de nickel) nickelé, parfois argenté, ou plus rarement doré. Pour des raisons pratiques de fabrication et de transport, la clarinette se compose de 6 éléments principaux (de haut en bas) :

le bec et sa ligature,
l'anche fixée sur la partie inférieure du bec,
le barillet,
le corps du haut (pour la main gauche),
le corps du bas (pour la main droite)
le pavillon.
Ces éléments sont reproduits sur la figure ci-contre.

Les deux parties du corps d'une clarinette (en bois ou en plastique) sont frappées d'un numéro de série, sorte d'immatriculation de l'instrument. Lors de l'achat d'un instrument d'occasion, il convient de vérifier que les deux éléments portent bien le même numéro. Le barillet et le pavillon n'étant pas taillés dans la même pièce de bois, et parfois même réalisés dans un autre matériau, ne sont généralement pas marqués.









Fonctionnement de la clarinette
Prise en main de l'instrument

Comme presque tous les instruments à vent, la clarinette se tient avec la main gauche en haut du corps (plus près de la bouche) et la main droite en bas du corps. Sur le corps inférieur, une patte accueille le pouce qui maintient l'instrument, et qui n'intervient pas dans le jeu. Le poids de l'instrument repose entièrement sur ce doigt, les clarinettistes peuvent souffrir d'une pratique prolongée (risque de tendinite[25]). Les jeunes instrumentistes peuvent alors utiliser un collier.



La clarinette est tenue en bouche et les bras avec un angle de 30 à 45° avec le corps du musicien. Le corps du haut possède trois trous qui sont bouchés par l'index, le majeur et annulaire de la main gauche. Le corps du bas possède également trois trous. Ils sont bouchés par les mêmes doigts de la main droite et dans le même ordre. Les auriculaires de chaque main permettent de manipuler les clefs de bas de registre. Chaque auriculaire est utilisé pour contrôler quatre clefs. Le travail de ces doigts est certainement celui qui demande le plus d'efforts au début[26]. Le changement d'instrument peut nécessiter un temps d'adaptation.

Comme tous les instruments à trous, la note jouée est d'autant plus aiguë que le nombre de trous ouverts est grand et la note la plus grave est obtenue lorsque tous les trous sont bouchés. Pour un même registre, les doigtés des autres notes, s'obtiennent en ouvrant progressivement les trous de la main droite puis ceux de la main gauche.

24.7.50

ผัก - ผลไม้ป้องกันมะเร็ง

ผัก-ผลไม้..ป้องกันมะเร็ง
ข้อแนะนำเพื่อการป้องกันมะเร็ง
- ไม่สูบบุหรี่ ไม่เคี้ยวยาสูบ - งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ - กินผักผลไม้ให้ได้ครึ่งหนึ่งของอาหารในแต่ละมื้อ - เลือกอาหารที่มีพืชหลากหลายชนิด เป็นองค์ประกอบหลัก - จำกัดอาหารประเภทเนื้อสัตว์ที่มีสีแดง - เลือกอาหารที่มีไขมันต่ำ - จำกัดอาหารเค็ม - ไม่กินอาหารที่ไหม้เกรียมบ่อยๆ - เตรียม และเก็บอาหารอย่างถูกสุขอนามัย - ออกกำลังกายสม่ำเสมอ - รักษาสุขภาพให้แข็งแรง ดูแลน้ำหนักตัวอย่าให้อ้วน - พักผ่อนให้เพียงพอ - ตรวจเช็คสุขภาพสม่ำเสมอ
พืชผัก - ผลไม้ นอกจากมีเส้นใยอาหาร แล้วยังประกอบไปด้วยสารต้านมะเร็งอีกมากมายหลายชนิด
มะเร็งเป็นสาเหตุการตายเป็นอันดับหนึ่ง ในคนไทย มะเร็งเป็นโรคร้ายแต่สามารถป้องกันได้ กินอาหารที่ประกอบด้วยผัก - ผลไม้ มากกว่าครึ่งหนึ่งของปริมาณอาหารที่กิน หรือ 500 กรัมต่อวัน และลดอาหารไขมันสัตว์ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ 20-30%
จากผลการศึกษาทางระบาดวิทยา ในประชากรที่กินอาหาร ประกอบด้วยพืชผัก และผลไม้มากเป็นประจำ จะมีอัตราการเกิดมะเร็งน้อยกว่า ในประชากรที่กินอาหารเนื้อสัตว์มาก และกินผักผลไม้น้อย

ใน ผัก - ผลไม้ มีเส้นใยอาหาร เกลือแร่ วิตามัน และสารหลายชนิด (bioactive compounds) เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และสารที่มีฤทธิ์ยับยั้งขบวนการเกิดโรคมะเร็ง ซึ่งสามารถป้องกันโรคหัวใจ เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคกระดูกพรุน โรคอ้วน โรคอัลไซเมอร์ และชะลอความแก่ชราได้อีกด้วย
กินผัก ผลไม้สด วันละ 500 กรัม เป็นประจำ ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งได้ 20% (มะเร็งช่องปาก หลอดอาหาร ปอด กระเพาะอาหาร ตับ ลำไส้ใหญ่ ตับอ่อน เต้านม กระเพาะปัสสาวะ)

เส้นใยอาหาร
เส้นใยอาหารโดยทั่วไป หมายถึง สารจากพืชที่ไม่ย่อยสลายด้วยเอนไซม์ ในทางเดินอาหารของคน การกินอาหารที่มีเส้นใยสูง มีความสัมพันธ์กับการลดความเสี่ยง ต่อการเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ และอาจลดความเสี่ยงของมะเร็งชนิดอื่น เช่น มะเร็งเต้านม ช่องปาก กระเพาะอาหาร และทวารหนัก เป็นต้น
สารเม็ดสีในพืช
สารเม็ดสีในพืชมีคุณสมบัติต้านมะเร็งหลายชนิด เช่น ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูลอิสระ เพิ่มระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น แบ่งได้ 3 กลุ่ม ดังนี้
คลอโรฟิลล์ สารสีเขียว พบในพืชใบเขียวทั่วไป เช่น คะน้า ผักโขม ตำลึง และสาหร่าย เป็นต้น สารคาโรทีนอยด์ สารสีส้ม - เหลือง และ แดง - ส้ม มีหลายชนิด เช่น เบต้าแคโรทีน ลูทีน ไลโคปีน เป็นต้น พบในแครอท ฟักทอง มะเขือเทศ และผักใบเขียวอื่นๆ สารแอนโทไซยานิดิน สารสีน้ำเงิน ม่วง แดง พบในหัวบีทเบอร์รี่ เชอร์รี่ องุ่นม่วง และแดง กะหล่ำม่วง เป็นต้น

17.7.50

ตำนาน "ช็อกโกแล็ต"




ช็อกโกแล็ต
ชาวมายาซึ่งอาศัยอยู่ใน ทวีปอเมริกากลาง เมื่อราว 1,400 ปีก่อน เคยดื่มน้ำชนิดหนึ่งซึ่ง หอมกรุ่นและให้ รสชาติซาบซ่าน เรียกว่า “ช็อกโกแลทัล” ฟังคุ้นๆ ไหม? ใช่แล้ว ชนโบราณเผ่านี้ ดื่มน้ำช็อกโกแลต!
เราเป็นหนี้บุญคุณชาวมายา เพราะพวกเขาเป็น ผู้เสกต้นโกโก้ให้กลายเป็นช็อกโกแลต นับเป็นการค้นพบที่สำคัญยิ่งต่อปากของมนุษยชาติ ต้นโกโก้ปลูกกันทั่วทวีปอเมริกากลางเมื่อ สองพันปีก่อน เติบโตได้ดีในอากาศร้อนและในผลโกโก้ นี่แหละที่ซ่อนเมล็ดเล็กๆ สีม่วงไว้มาก มาย เมื่อนำเมล็ดอัศจรรย์เหล่านี้ไปตากแห้งและผ่านกระบวนการต่างๆ มันก็จะกลายสภาพเป็นช็อกโกแลตที่เราโปรด ปรานนั่นเอง
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เป็นชาวยุโรป คนแรกที่ได้เห็นและสัมผัสเมล็ดโกโก้ ก่อนหน้านี้ไม่มีใครในแถบยุโรปรู้จักช็อกโกแลตที่แสนอร่อยเลยจนกระทั่ง ค.ศ. 1492 ซึ่งเป็นปีที่โคลัมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา ลูกชายของโคลัมบัสซึ่งติดตามไปอเมริกาด้วย ได้พบเรือบดบรรทุกสินค้าลำใหญ่ของ ชาวพื้นเมือง เขาบันทึกเหตุการณ์เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1502 ไว้ว่า “พวกชนพื้นเมือง อเมริกันถือว่าเมล็ดถั่ว (หมายถึงเมล็ดโกโก้) มีค่ามาก พอเมล็ดถั่วตก พวกเขาทุกคน จะหยุดแล้วเก็บมัน ขึ้นมาราวกับทำลูกตา ตกหล่นอย่างนั้นแหละ”
โคลัมบัสกับลูกเรือไม่รู้ว่า เมล็ดโกโก้ เป็นสิ่งที่ใช้แทนเงิน (ถ้ารู้คงไม่เขียนนินทา ชาวพื้นเมืองอย่างนั้นแน่) เมื่อกลับยุโรป ในบรรดาสิ่งของน่าตื่นตาตื่นใจมากมาย ที่โคลัมบัสนำมาถวายกษัตริย์และราชินีของสเปนนั้น มีเมล็ดดำๆ เล็กๆ คล้ายถั่วปะปนอยู่ ดูแล้วไม่รู้จะเก็บ มาให้หนักทำไม ไม่มีใครรู้ว่าเมล็ดโกโก้ เหล่านี้แหละจะกลายเป็นช็อกโกแลต ที่ทำให้มนุษย์ ทั่วโลกหลงใหลในเวลาต่อมา กษัตริย์เฟอร์ดินันด์มองไม่เห็นคุณค่าของเมล็ดโกโก้ กว่าเมล็ดโกโก้จะกลายเป็น “สมบัติล้ำค่า” ขึ้นมาก็อีก 20 ปีให้หลังโน่น เมื่อเฮอร์นันโด คอร์เทส เดินทางไปพิชิตจักรวรรดิแอสเท็ค
ในช่วงที่คอร์เทส รุกรานแดนเม็กซิโก เขาเห็นชาวแอสเท็คใช้เมล็ดโกโก้ในการเตรียมเครื่องดื่มถวายกษัตริย์ นินทากันว่าจักรพรรดิ มอนเทซูมา ดื่มน้ำช็อกโกแลต ถึงวันละ 50 ถ้วย เมื่อคอร์เทส และกองทัพสเปนมาถึง พระองค์ (ซึ่งคิดว่าคอร์เทสเป็น เทพเจ้า) ทรงให้การต้อนรับด้วย น้ำช็อกโกแลตที่ใส่ในภาชนะทองคำ อย่างสุดหรูราวกับมันเป็นอาหารจากแดนสวรรค์ คอร์เทสเขียนบันทึกไว้ว่ากษัตริย์ มอนเทซูมา ดื่มซอคาแลทัล “...ซึ่งเป็นเครื่องดื่มที่เพิ่มพลังและขับไล่ ความเหนื่อยอ่อน ดื่มแก้วเดียวก็มีเรี่ยวแรงเดินได้ทั้งวัน โดยไม่ต้องกินอาหาร” แต่ซอคาแลทัลของท่านจักรพรรดิทำเอา คอร์เทสแทบสำลักเพราะ มีรสขมมาก ทหารบางคนบอกว่า “น่าจะโยนให้หมูกินดีกว่าเอามาให้พวกเรา”
ชนชั้นสูงดื่มกินน้ำช็อกโกแลต คนที่จะถูกสังเวยชีวิต ในพิธีบูชายัญมนุษย์ จะได้ดื่มน้ำช็อกโกแลตเพื่อ กระตุ้นจิตใจให้มีชีวิตชีวา (เป็นครั้งสุดท้ายก่อนตาย) มีการถวายน้ำช็อกโกแลตให้เทพเจ้าเค็ทซัลคอทัลด้วย
ตามตำนานเล่าว่า เทพเค็ทซัลคอทัลหายลับไปจากโลกเพราะถูกสวรรค์ลงโทษที่นำช็อกโกแลต ซึ่งถือเป็นเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์จาก แดนสวรรค์มาให้มนุษย์ลิ้มลอง แต่สิ่งที่ท่านทิ้งไว้เป็นที่ระลึกก็คือ ต้นโกโก้ที่งอกงามไปทั่วพื้นดิน ท่านจึงได้ครองอีกตำแหน่งหนึ่งคือ เทพแห่งต้นโกโก้
ในปี 1529 เมื่อคอร์เทสปราบพวกแอสเท็คได้สำเร็จ เขาก็นำเมล็ดโกโก้ กลับสเปนด้วย จากนั้นรสชาติของ น้ำช็อกโกแลต ก็ได้รับอิทธิพลของสเปนคือ มีการเพิ่มน้ำตาลทราย วานิลลา กลิ่นอบเชยลงไป เครื่องดื่มนี้ชนะใจคนทุกคน โดยเฉพาะพวกผู้ดีในสเปน สเปนจึงสร้างไร่ โกโก้ในทวีปอเมริกากลางจนกลายเป็นธุรกิจใหญ่โต แต่เก็บศิลปะการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ จากพวกชนชาติยุโรปที่เหลือนานเกือบร้อยปี
พระชาวสเปนได้เก็บการทำน้ำช็อกโกแลตไว้เป็นความลับ แต่ในที่สุดก็รั่วไหลออกมา ภายในเวลาอันรวดเร็วผู้คนทั่วยุโรป ก็ติดอกติดใจน้ำช็อกโกแลตซึ่งถือเป็นอาหาร อร่อยที่เสริมสุขภาพ มีการดื่มกันที่ราชสำนักในฝรั่งเศส น้ำช็อกโกแลตกระจายข้ามน้ำข้ามทะเลไปยังอังกฤษ และในปี ค.ศ. 1675 ร้านน้ำช็อกโกแลตแห่งแรกของอังกฤษก็เปิดขึ้น
การดื่มน้ำช็อกโกแลตในยุคนั้น ถือเป็นเรื่องทันสมัย แสดงถึงรสนิยมสูง บรรดาผู้ดีมีสกุลเท่านั้นจึงมีสิทธิลิ้มรส เมื่อเรือกลไฟถูกประดิษฐ์ขึ้น ก็สามารถขนส่งเมล็ดโกโก้ ได้คราวละเป็นจำนวนมาก พอถึงปี 1730 น้ำช็อกโกแลตจึงมีราคาถูกลง จนคนธรรมดาทั่วไปมีโอกาส ลืมตาอ้าปากกินกะเขามั่ง การประดิษฐ์เครื่องบดเมล็ดโกโก้ ในปี 1828 ยิ่งทำให้น้ำช็อกโกแลตราคาถูกลงไปอีก ทั้งยังช่วยกรองไขมันของเมล็ดโกโก้ ออกไปให้รสชาติที่น่าหลงใหลขึ้น จากนั้นมาการดื่ม น้ำช็อกโกแลตก็แพร่หลายมาจนทุกวันนี้ ในศตวรรษที่ 19 ช็อกโกแลตมีการเปลี่ยนรูป เปลี่ยนร่างอยู่สองอย่างคือ ในปี 1847 บริษัทในอังกฤษได้ผลิต “ช็อกโกแลตแท่ง” ที่กินได้ และอย่างที่สองคือ แดเนียล พีเทอร์ ได้หาทางผสมนมลงไปใน ช็อกโกแลต กลายเป็นช็อกโกแลตนมที่เราแทะกินกันอย่างเมามันมาจนทุกวันนี้
ในอเมริกา มีการผลิตช็อกโกแลตกันอย่างไม่ลืมหูลืมตากว่าที่ไหนๆในโลก และในปี 1765 โรงงานช็อกโกแลตแห่งแรกก็เกิดขึ้น สมัยนั้นใครๆ ต่างหลงใหลช็อกโกแลตเสียจน หากขาดตลาด ชาวประชาคงหมดกำลังใจที่จะอยู่ดูโลกต่อไปแน่ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลสหรัฐฯตระหนักดีถึงบทบาทสำคัญของช็อกโกแลต ในการบำรุงขวัญกำลังใจและสุขภาพของทหาร จึงได้ส่งเมล็ดโกโก้ ไปให้กองทัพทหาร เป็นจำนวนมาก ทุกวันนี้ ทหารสหรัฐฯ ยังได้รับช็อกโกแลตเป็นเสบียงติดตัว แม้แต่นักบินอวกาศของสหรัฐฯ ยังนำช็อกโกแลตออกไปกินนอกโลกด้วย ให้มนุษย์ต่างดาวน้ำลายไหล

Thé



Le thé est une boisson stimulante, obtenue par infusion des feuilles du théier, préalablement séchées et parfois fermentées.

D'origine chinoise, où il est connu depuis l'Antiquité, le thé est aujourd'hui la boisson la plus bue au monde après l'eau. La boisson elle-même peut prendre des formes très diverses : additionnée de lait et de sucre au Royaume-Uni, longuement bouillie avec des épices en Mongolie, préparée dans de minuscules théières dans la technique chinoise du gōngfū chá.

Par analogie, le mot désigne, dans certaines régions de la francophonie ou certaines régions de France une infusion préparée à partir d'autres plantes (par ex. thé de tilleul) bien que l'on doive parler plus proprement de tisane.


Le mot « thé »
Le sinogramme pour thé est 茶 qui a deux prononciations différentes suivant les dialectes. Et le mot signifiant thé de presque toutes les langues du monde dérive de l'une ou l'autre de ces deux prononciations.

La prononciation officielle (aussi utilisée en cantonais et en mandarin), qui s'est sans doute répandue depuis Canton et Hong Kong, est chá, et vient du mot cueillir. Plusieurs langues l'ont empruntée dont le portugais (chá), le tchèque (tchaï), le russe (tchaï), le japonais (茶, ちゃ, cha), l'arabe (chaï), le turc et le persan.


L'autre prononciation est te qui vient du mot malais désignant cette boisson dans le dialecte Min-nan pratiqué en Amoy. Les Hollandais qui introduisirent le thé en Europe en 1606, l'ayant acheté à Java, le nommèrent thee, d'où le français thé, l'anglais tea, l'allemand Tee, etc.

Dans les pays où la prononciation commence par "te" le thé s'est répandu par les terres, alors que dans les pays où la prononciation commence par "ch" il s'est répandu par la mer.


En Amérique du Sud le thé est parfois désigné par un terme sans relation aucune avec le chinois. Une autre boisson stimulante, le maté, était consommée bien avant l'introduction du thé, aussi dans différents endroits d'Amérique du Sud, tout particulièrement dans les pays andins, le thé est appelé maté.


Histoire
Selon la légende chinoise, l'utilisation du thé comme boisson serait apparue en l'an 2737 avant notre ère, quand des feuilles se seraient détachées d'un arbre pour tomber dans l'eau chaude de l'Empereur Shen Nung. Des récipients à thé datant de la dynastie Han (de -206 à 220) ont été retrouvés, mais c'est sous la dynastie des Tang (618 - 907) que le thé a été clairement identifié comme la boisson populaire.


Culture
Le thé est cultivé dans le monde entier, principalement en Chine, en Inde, au Sri Lanka, à Taïwan, au Japon, au Népal, en Turquie, au Kenya et en Tanzanie.

(Note : dans le commerce du thé, le Sri Lanka et Taïwan sont désignés par leurs anciens noms de Ceylan et Formose, respectivement.)

Le théier a besoin d'un climat chaud et humide, avec une saison sèche peu marquée. En plantation (densité de 10 000 pieds par hectare), le théier est taillé pour ne pas dépasser un mètre de haut, afin de faciliter la cueillette. Les premières récoltes commencent au bout de trois à quatre ans

La cueillette
La cueillette s'effectue encore à la main, le plus souvent par des femmes, sauf au Japon et en Géorgie où elle est mécanisée. Elle se pratique plusieurs fois par an, jusqu'à quatre fois ou plus suivant les régions. Les cueillettes se font par round de 4 à 14 jours, le temps que le théier se renouvelle.

Les feuilles les plus jeunes sont vert clair. Ce sont les plus riches en substance (caféine, tanin, etc) et celles qui fournissent la boisson la plus goûteuse et la plus raffinée. À l'extrémité des branches se trouve un bourgeon recouvert d'un duvet blanchâtre, le pekoe, qui signifie en chinois duvet blanc et qui n'est autre que la jeune pousse enroulée sur elle-même. Ce bourgeon est particulièrement recherché. Plus on redescend sur la branche, plus les feuilles sont larges et moins la boisson sera savoureuse.

On effectue donc plusieurs sortes de cueillette suivant la qualité recherchée de la boisson. Dans la cueillette dite « impériale », on cueille uniquement le pekoe plus une feuille, dans la cueillette « fine », le pekoe plus deux feuilles et dans la cueillette normale, le pekoe et trois feuilles ou plus.

Pour la liste détaillée des grades du thé, voir l'article dédié : Grades du thé.

Thé vert
Le thé vert est un thé dont les feuilles, après la cueillette, seront le plus souvent flétries et chauffées à haute température, afin de neutraliser les enzymes responsables de l'oxydation. Elles seront ensuite roulées et séchées plusieurs fois afin d'obtenir une forme particulière. On peut distinguer deux méthodes principales pour obtenir du thé vert. La méthode chinoise, d'une part, par laquelle les feuilles sont chauffées dans de grandes bassines de cuivre placées sur le feu ; la méthode japonaise, d'autre part, par laquelle les feuilles seront chauffées à la vapeur, très brièvement, en moins d'une minute, avant d'être roulées et séchées.

Thé jaune
Thés d'origine chinoise, les plus fins et souvent les plus rares des thés. Très délicats, ils subissent une légère fermentation à l'étouffée et leurs feuilles ne sont pas travaillées. Seuls les bourgeons duveteux sont utilisés

Thé blanc
Thés d'origine chinoise, à l'instar des thés jaunes, ce sont des thés très délicats qui, eux, ne subissent aucune fermentation. Les trois premières feuilles, dont le bourgeon, peuvent être présentes, toujours entières. Elles sont simplement séchées à l'air libre.

11.7.50

love...love

...To love is to risk not being loved in return.
To hope is to risk pain.
To try is to risk failure, but risk must be taken,
because the greatest hazard in life is to risk nothing.
การที่ได้รัก คือการเสี่ยงว่าจะไม่ได้รับความรักเป็นการตอบแทน
การตั้งความหวัง คือการเสี่ยงกับความเจ็บปวด
การพยายามคือการเสี่ยงกับความล้มเหลว
แต่ยังไงก็ต้องเสี่ยง เพราะสิ่งที่อันตราาย ที่สุดในชีวิตก็คือ
การไม่เสี่ยงอะไรเลย ...

...I' ve changed ever since the day i've met you
i keep thinking abort yot
because i love you so much
ยอมรับว่าเปลี่ยนไป
ตั้งแต่ได้มาพบเธอ
ยอมรับว่าพร่ำเพ้อ
ก็เพราะว่ารักเธอจนหมดใจ...

...i don t blame you for your changes
but am i wrong to still be the same inside
เธอไม่ผิดหรอกที่เปลี่ยนไป
แต่ฉันจะผิดไหมที่เหมือนเดิม...

...When I close my eyes
I can almost feel your touch
Your warms lips against mine
I miss you so much!!
ยามที่ฉันหลับตา
ฉันสามารถรู้สึกได้ถึงสัมผัสของธอ
ริมฝีปากอุ่นๆที่เธอประทับลงที่ริมฝีปากฉัน
ฉันคิดถึงเธอมากมายเหลือเกิน...

กลอน ฮา..ฮา

...ก า ร บิ น ไ ท ย รั ก คุ ณ เ ท่ า ฟ้ า
แ ต่ ฉั น รั ก เ ธ อ ม า ก ก ว่ า รู้ ไ ห ม
เ ป็ น ห่ ว ง ม า ก ก ว่ า กา ร บิ น ไ ท ย
อ ย า ก ไ ด้ อ ะ ไ ร จ ะ ทำ ใ ห้ ไ ม่ เ กี่ ย ง เ ล ย ...

..เส้นขนาน.... ที่ลากผ่านมาชิดใกล้
แต่ถึงแม้จะอย่างไร ไม่มีวันได้บรรจบกัน
คงเปรียบกันได้ คล้าย ๆ เธอกับฉัน
ที่ถึงแม้จะรักกัน แต่ไม่มีวันได้สมใจ ...

...คิ ด ถึ ง จึ ง ส่ ง ม า
ห่ ว ง ห า จึ ง ส่ ง ใ ห้
คิ ด ถึ ง บ ว ก ห่ ว ง ใ ย
เ ห ตุ ผ ล พ อ ไ ห ม ที่ ส่ ง ม า ...

...แ ต ง ก ว า แ ท น คิ ด ถึ ง
ตำ ลึ ง แ ท น ห่ ว ง ห า
ม ะ เ ขื อ เ ท ศ แ ท น สั ญ ญ า
ส่ ง M e s s a g e s ม า แ ท น ห่ ว ง ใ ย ...

...สุ ด ข อ บ ต า ยั ง มี ข น ต า
สุ ด ข อ บ ฟ้ า ยั ง มี ฟ้ า ก ะ น้ำ
สุ ด ข อ บ ถ น น ยั ง มี ไ ห ล่ ท า ง
แ ต่ ไ ม่ มี สุ ด ข อ บ ใ จ สำ ห รั บ คำ ว่ า รั ก เ ธ อ ...

...เ พี ย ง บ อ ก กั น ว่ า ฉั น นั้ น ไ ม่ ใ ช่
ค ว า ม ห่ ว ง ใ ย ที่ ผ่ า น ม า เ ป็ น แ ค่ ฝั น
ห า ก วั น นี้ เ ธ อ จ ะ ม า บ อ ก ล า กั น
จ ะ ข อ เ ก็ บ ค ว า ม ฝั น ไ ว้ กั บ ใ จ ...

...ฝ า ก บ อ ก ฟ้ า ฝ า ก ไ ป ส า ย ล ม นั่ น
บ อ ก ว่ า ฉั น นั้ น คิ ด ถึ ง เ ธ อ เ ส ม อ
ฝ า ก ด ว ง ด า ว ว่ า รั ก นั้ น ฉั น มี เ ธ อ
ฝ า ก ด ว ง ใ จ ไ ว้ กั บ เ ธ อ ต ล อ ด ไ ป ...

...ต้ น ไ ผ่ พ ริ้ ว ต า ม ส า ย ล ม
ด ว ง ใ จ ลิ่ ว ต า ม คำ ค ม
เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ใ จ แ ส น สุ ข ส ม
พ ร่ำ เ พ้ อ ล ะ เ ม อ ล อ ย ล ม ...

...คำ ว่ า รั ก ที่ เ ธ อ เ อื้ อ ย เ อ่ ย
ฝ า ก รั ก มั่ น ถ้ อ ย คำ อ่ อ น ห ว า น
รั ก รั ก รั ก พ า จิ ต โ น้ ม น้ อ ม
เ ป รี ย บ ดั่ ง น้ำ ทิ พ ย์ ม า โ ล ม ใ จ ...

...รั ก . . . คื อ คำ นิ ย า ม ค ว า ม ลึ ก ซึ้ ง
เ ธ อ . . . คื อ ห นึ่ ง ใ น คำ นิ ย า ม นั้ น
ค น . . . ที่ เ ป็ น เ ช่ น แ ส ง แ ห่ ง ต ะ วั น
เ ดี ย ว . . . ด า ย พ ลั น เ มื่ อ ฉั น ไ ม่ มี เ ธ อ ...

...ห นึ่ ง รั ก ที่ พั ก ดี
เ ห มื อ น โ ร ตี คู่ ส า ย ไ ห ม
รั ก เ ธ อ จ น ห ม ด ใ จ
เ ห มื อ น ส า ย ไ ห ม คู่โ ร ตี ...

...สุ ท ร ภู่ ค รู ก วี ขี่ แ ส ม ท
แ บ ง ค์ ว ง แ ค ร ช ขี่ m i o เ ท่ นั ก ห น า
เ ส ก โ ล โ ซ ขี่ นู โ ว ต า ม ห ลั ง ม า
ส่ ว น ตั ว ฆ่ า ปั่ น ร ถ ถี บ ไ ป จี บ ไ ป จี บ เ ท อ ...

...ไ ม่ ใ ช่ ศ ร ที่ ขี้ อิ จ ฉ า
ไ ม่ ใ ช่ ห วิ ว ดั ง ก บ ใ น ก ะ ล า
ไ ม่ ใ ช่ แ ค ล ช ที่ ถ า ม ว่ า เ ข า ชื่ อ อ ะ ไ ร
แ ต่ เ ต็ ม ใ จ เ ป็ น ไ อ น้ำ คื อ ค น รั ก ...

...เ รี ย น ไ ป ก็ ไ ร้ ค่ า
ต า ย ห่ า ก็ ลื ม ห ม ด
ส อ บ ไ ด้ เ ป็ น เ รื่ อ ง ต ล ก
ส อ บ ต ก เ ป็ น เ รื่ อ ง ธ ร ร ม ด า ...

4.7.50

น้ำตกไนแองการ่า

น้ำตกไนแองการ่า Niagara Falls
น้ำตกไนแองการ่า Niagara Falls บริเวณทะเลสาบทั้ง 5 ระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา และ ประเทศแคนาดา น้ำตกไนแองการ่าแหล่งท่องเที่ยวที่ลือลั่นสนั่นโลก และเป็นแหล่งที่ทำเงินให้กับแคนาดา และสหรัฐ อเมริกา ปีหนึ่ง ๆ นับจำนวนมหาศาล เพราะสถานที่แห่งนี้ไม่เคยที่จะร้างห่างลาผู้คน ไม่ว่าจะเป็น ฤดูหนึ่งฤดูใดก็ตามภาพของน้ำตกไนแองการ่าที่ไหลลงสู่ทะเลสาบออนตาริโอเป็นผืนน้ำขนาดใหญ่ที่ดูเป็นแอ่งนิ่งและสงบ อยู่ในแผ่....

หอไอเฟล

La tour Eiffel
ที่ตั้ง :
Champ-de- Mars, 75007 Paris
เปิด:
ฤดูหนาว เวลา 9.30-23.00 น.
ฤดูร้อน เวลา 9.00-24.00 น.
ความสำคัญ :
เป็นแหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ อุตสาหกรรม
ช่างเทคนิค สถาปัตยกรรม
การบริการ :
ให้ข้อมูลเป็นภาษาต่างๆ นำชมเป็นคณะ การประชุม
การบริการคนพิการ ร้านของที่ระลึก ร้านอาหาร
ที่ว่างให้เช่า ให้ถ่ายภาพ จุดชมเมือง ที่จอดรถ
กุสตาฟ ไอเฟล (Gustave Eiffel) เริ่มสร้างหอไอเฟล เมื่อวันที่ 28 มกราคม ค.ศ.1887 และเสร็จในวันที่ 31 มีนาคม
ค.ศ 1889 หอไอเฟลจึงได้ชื่อตามผู้สร้างซึ่งเป็นวิศวกรคนแรก ของโลกที่ใช้เหล็กกล้าในการก่อสร้างงานศิลป์
หอไอเฟลมีความสูง 320 เมตร หนัก 1300 ตัน ชิ้นส่วนโลหะ 1500 ชิ้น น๊อต 2,500,000 ตัว มี 3 ชั้น (57 เมตร - 115 เมตร - 274 เมตร) มีลิฟต์ 2 ตัว และมีบันได 4 ด้านๆ ละ 1.650 ขั้น ในตอนแรกสร้างเพื่อเป็นซุ้มทางเข้างานมหกรรมโลก ใน ปี คศ.1889
ปัจจุบันแม้ว่าจะไม่สูงที่สุดในโลก แต่หอไอเฟลก็เป็นสถานที่ ท่องเที่ยวที่ใหญ่ที่สุดบนพื้นดิน ทุกๆปีจะมีนักท่องเที่ยว
จากทุกประเทศไปเที่ยวชมประมาณถึง 5 ล้านคน และหอไอเฟล ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ของปารีส-ฝรั่งเศสไปแล้ว